แบบสำรวจความพึงพอใจ ความไม่พึงพอใจ ความผูกพัน และความเชื่อมั่น
ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567




คำชี้แจง:
1. แบบสำรวจนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจ ความไม่พึงพอใจ ความผูกพัน และความเชื่อมั่น ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มเป้าหมาย 2 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2) กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลไกและเครือข่าย

2. แบบสำรวจฉบับนี้ แบ่งออกเป็น 6 ส่วน คือ 1) ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสำรวจ 2) แบบสำรวจความพึงพอใจ 3) แบบสำรวจความไม่พึงพอใจ 4) แบบสำรวจความผูกพัน และ 5) แบบสำรวจความเชื่อมั่น

3. โปรดอ่านข้อคำถาม ตอบแบบสำรวจทุกข้อ และทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องที่ตรงกับความรู้สึก และแสดงความคิดเห็นของท่านในแต่ละข้อคำถาม
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสำรวจ
ชาย หญิง อื่นๆ
ไม่ได้รับการศึกษา
ต่ำกว่าระดับมัธยมต้น
มัธยมศึกษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
ปวช.
อนุปริญญา/ปวส.
ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
สูงกว่าปริญญาตรี
ไม่ประกอบอาชีพ/ว่างงาน
นักเรียน/นิสิต/นักศึกษา
ธุรกิจส่วนตัว/ค้าขาย
ภิกษุ/สามเณร/แม่ชี
เกษตรกร
รับจ้าง
ข้าราชการ/พนักงานของรัฐ
พนักงานรัฐวิสาหกิจ
พนักงานบริษัท
อื่น ๆ โปรดระบุ


คนไร้ที่พึ่ง ได้แก่ (บุคคลที่ประสบความเดือดร้อน, คนเร่ร่อน, บุคคลซึ่งอาศัยที่สาธารณะเป็นที่พักนอนชั่วคราว, บุคคลที่มีสถานะทางทะเบียนราษฎรแต่ยังไร้สัญชาติ, และ บุคคลไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร)
ผู้ทำการขอทาน
ผู้แสดงความสามารถ
สมาชิกนิคมสร้างตนเอง
ราษฎรบนพื้นที่สูง
สมาชิกในโครงการหมู่บ้านสหกรณ์
ราษฎรในพื้นที่โครงการหลวง
นายจ้าง/สถานประกอบการ
บิดา/มารดา/ญาติ (ของผู้ใช้บริการ)
ผู้มีรายได้น้อย
พระธรรมจาริก
อื่น ๆ

องค์การสวัสดิการสังคม (หน่วยงานภาครัฐที่ดำเนินการด้านสวัสดิการสังคม องค์กรสาธารณประโยชน์ และองค์กรสวัสดิการชุมชน)
เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานภาครัฐ
ภาคเอกชน/มูลนิธิ/NGO
กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน/ผู้นำชุมชน
อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
อาสาสมัครอื่น ๆ ระบุ
ประชาชนทั่วไป
อื่น ๆ โปรดระบุ

ส่วนกลาง
ส่วนภูมิภาค

ถัดไป